เป้าหมายระยะยาวคือการสร้างอวัยวะที่สามารถทดแทนการบริจาคอวัยวะ แต่ในอนาคตอันใกล้ เทคโนโลยีนี้จะเป็นสะพานสำหรับการปลูกถ่ายอวัยวะ” Soto-Gutiérrez กล่าว “ตัวอย่างเช่น ในผู้ป่วยที่มีอาการตับวายเฉียบพลัน คุณอาจต้องมีการเพิ่มตับสักระยะหนึ่งแทนที่จะเป็นการรอตับใหม่ทั้งชิ้นจากผู้บริจาคอวัยวะ”
ทีมงานนักวิจัย กำลังก้าวไปสู่การสร้างเทคโนโลยีเพื่อให้สามารถเข้าถึงการปลูกถ่ายตับมนุษย์ตามความต้องการได้อย่างกว้างขวางและมีประสิทธิภาพ Soto-Gutiérrez กล่าวเสริม การพัฒนานี้จะเปลี่ยนแปลงชีวิตของคนประมาณ 30 ล้านคนในสหรัฐอเมริกาที่มีอาการความผิดปกติของตับ
เลือกฟังกันได้เลยนะครับ อย่าลืมกด Follow ติดตาม PodCast ช่อง Geek Forever’s Podcast ของผมกันด้วยนะครับ
ช่องทางติดตาม ด.ดล Blog เพิ่มเติมได้ที่
Fanpage : facebook.com/tharadhol.blog
Twitter : twitter.com/tharadhol
Instragram : instragram.com/tharadhol
Website : www.tharadhol.com